30001-2001 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ ( 2-2-3 )

- Student: Adisak Boodjan
- Student: Anawin Boonnok
- Student: Paramate Budsasom
- Student: niyata noproysa
- Student: Duangtida Thitirattanakul
- Student: สุวิชา การถัก
- Student: กษิดิ์เดช ขุนศรี
- Student: วสันต์ คล้ายสร
- Student: ภานุมาส จันทรเนตร
- Student: อิสราภรณ์ จำปา
- Student: ภูริพันธ์ ชัยรติสวัสดิ์
- Student: โสภา ดีใจบุญ
- Student: ฉลาด ตรีถูกแบบ
- Student: วิภาพร ทองปัญญา
- Student: นวพล นัคเรศ
- Student: วาสนา ปานทอง
- Student: เบญจวรรณ ผึ่งผาย
- Student: กรวรรณ ผ่องแผ้วฉาย
- Student: กัญญาวีร์ พระเมือง
- Student: สุพัตรา พลไกรษร
- Student: จุฬารัตน์ มะโนลา
- Student: ดรณีรัตน์ ยศดำรงกุล
- Student: บดินทร์ ยศดำรงกุล
- Student: อังค์วรา วงกลม
- Student: อังค์วรา วงกลม
- Student: อังค์วรา วงกลม
- Student: อภิญญา วรรณสวัสดิ์
- Student: วีรยุทธ วรรณสินธุ
- Student: ณัฐพงษ์ วิเคียน
- Student: ธนกฤต ศรีถาการ
- Student: นางสาวจามจุรี สมบุตร
- Student: กนกวรรณ สอดศรี
- Student: ทัศวรรณ สิงสีทา
- Student: ธีระศักดิ์ สิงสีทา
- Student: อนันตญา สุวรรณเพ็ชร
- Student: ชิษณุพงศ์ อาจหาญ
- Student: ณัฐยา อำพันทรัพย์
- Student: นางสาวพุทธชาด อุ่นแก้ว
- Student: สุกัญญา เกิดผล
- Student: นภัสสร เจริญสุข
- Student: ปกป้อง เเตงจันทึก
- Student: นาย พิศาล แพนลิ้นฟ้า
- Student: ทิพวรรณ ไตรลักษณ์
- Student: ลัดดาวัลย์ ไตรลักษณ์
30204-2202 โปรแกรมกราฟิกสำหรับผลิตสื่อดิจิทัล (Graphic for Digital Media) 2-2-3
จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้
1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการของภาพกราฟิก การออกแบบ infographic เพื่อผลิตสื่อดิจิทัล
2. สามารถใช้โปรแกรมกราฟิกสำหรับผลิตสื่อดิจิทัลให้เหมาะสมกับงานธุรกิจ
3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ละเอียดรอบคอบ
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการของภาพกราฟิก การออกแบบ infographic เพื่อผลิตสื่อดิจิทัล
2. ใช้โปรแกรมกราฟิกสำหรับผลิตสื่อดิจิทัลให้เหมาะสมกับงานธุรกิจ
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาพกราฟิก หลักการของภาพกราฟิก ประเภทและ คุณลักษณะของภาพกราฟิก วิธีและกระบวนการคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ หลักสำคัญในการออกแบบ รูปแบบของ info graphicการใช้โปรแกรมสร้างภาพกราฟิกอย่างสร้างสรรค์เพื่อผลิตสื่อดิจิทัลให้เหมาะสม กับงานธุรกิจ

- Teacher: ครูศศิราภัคญ์ วศิรวงศ์
- Student: ธนัชชา เทพรักษา
- Student: ฐิติวัฒน์ แสงแก้ว
- Student: ภาณุวัฒน์ ใหม่เอี่ยม
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเซลล์และเนื้อเยื่อ ลักษณะสัณฐานทางวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ ของราก ลำต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด การจําแนกพืช การเก็บตัวอย่างและการจําแนกพรรณไม้เบื้องต้น

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้
1. เข้าใจความสําคัญ หลักการและกระบวนการผลิตเห็ดเพื่อการค้า
2. สามารถวิเคราะห์วางแผนและจัดการผลิตเห็ดเพื่อการค้าตามหลักการและกระบวนการโดยคํานึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพผลิตเห็ดและมีกิจนิสัยในการทํางานด้วยความรับผิดชอบมีคุณธรรมจริยธรรม ขยันและอดทน
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการผลิตเห็ดเพื่อการค้า
2. วางแผนการผลิต การจัดการหลังการผลิตและจําหน่ายเห็ดเพื่อการค้าตามหลักการ
3. เตรียมพื้นที่ วัสดุอุปกรณ์และชนิดพันธุ์ในการผลิตเห็ดเพื่อการค้าตามหลักการและกระบวนการ
4. ผลิตเห็ดเพื่อการค้าตามหลักการและกระบวนการ
5. จัดการผลผลิตเห็ดเพื่อการค้าตามหลักการและกระบวนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การเพิ่มมูลค่า การขนส่งและจําหน่าย
คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสําคัญของเห็ด การวิเคราะห์ตลาดเห็ดและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ชีววิทยาของเห็ด ประเภทและชนิดของเห็ดเพื่อการค้า ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเห็ด การวางแผนการผลิตเห็ดเพื่อการค้า โรงเรือนและอุปกรณ์การทําเชื้อเห็ด การเพาะเห็ดและการปฏิบัติดูแลรักษา ศัตรูเห็ดและการป้องกันกำจัด มาตรฐานผลผลิตเห็ด การเพิ่มมูลค่าผลผลิตเห็ดเพื่อการค้าและการจําหน่าย
(ให้เลือกศึกษาเห็ดเพื่อการค้าที่สําคัญในท้องถิ่นไม่น้อยกว่า 3 ชนิด)

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้
1. เข้าใจความสําคัญ หลักการและเทคนิควิธีการส่งเสริมการเกษตร
2. สามารถวางโครงการ ดําเนินงาน ประสานงานและประเมินผลการส่งเสริมการเกษตร
3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีต่องานส่งเสริมการเกษตร
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและเทคนิควิธีการส่งเสริมการเกษตร
2. วางโครงการดําเนินงานส่งเสริมการเกษตรในท้องถิ่นตามหลักการ
3. เลือก/ใช้/ประยุกต์ใช้/ผลิตสื่อโสตทัศน์ในงานส่งเสริมการเกษตร
4. เลือก/ใช้/ประยุกต์ใช้วิธีการส่งเสริมการเกษตรในสถานการณ์ต่าง ๆ
5. ประเมินผลและแก้ไขปัญหาในการดําเนินงานส่งเสริมการเกษตร
6. แสดงพฤติกรรมลักษณะนิสัย คุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่องานส่งเสริมการเกษตร
คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสําคัญ หลักการและเทคนิคการส่งเสริมการเกษตร การวางโครงการการดําเนินงานและการประสานงาน วิธีการส่งเสริมการเกษตร สื่อโสตทัศน์เพื่องานส่งเสริมการเกษตร การประเมินผลการส่งเสริมการเกษตร ปัญหาและแนวทางแกไขในงานส่งเสริมการเกษตร

- Student: ชาญณรงค์ โรจชยะ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการฟัง การดู การพูด การอ่านและการเขียนภาษาไทย การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่าสารในงานอาชีพจากสื่อประเภทต่าง ๆ การพูดนำเสนอข้อมูล เพื่อสื่อสารในงานอาชีพและในโอกาสต่าง ๆ การเขียนเพื่อกิจธุระ การจดบันทึกข้อมูลและเขียนรายงานการปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพ และจรรยาบรรณในการใช้ภาษาไทยเชิงวิชาชีพ

- Teacher: ครูอารี พิทยาวงศ์ฤกษ์
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน
การสอบถามและให้ข้อมูลบุคคล สถานที่ เวลา และสภาพอากาศ การสนทนาทางโทรศัพท์ การอ่านข้อมูล
จากสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อออนไลน์ การเขียนข้อมูลบุคคล บันทึก และข้อความบนสื่อสังคมออนไลน์ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน

- Teacher: ครูศิโรรัตน์ ธรรมดา
- Student: ว่าที่ร.ต.ศิรภพ พงษ์พุฒ
- Student: ส.ต.สุขสวัสดิ์ สมบูรณ์
- Student: ส.ต.เจษฎา แสนสอาด

- Teacher: Supachok Pansuk
- Teacher: wirat poonudom
- Student: Khwansirirat Keson
- Student: saranchana khongthong
- Student: Suapchok Pansuk
- Student: noppakao pomin
- Student: ณัฐริกา กุมภีร์
- Student: สุศิลนัย คล้ายหิรัญ
- Student: เกศราพร บุตรสี
- Student: ณัฐพล พนะโพธิ์
- Student: สายพิณ ฤทธิเดชะ
- Student: ฐิติกร ลาน้ำคำ
- Student: ระวิวรรณ วิศวกุล
- Student: ว่าที่ร.ต.สถาพร สมัยกุล
- Student: ว่าที่ร้อยตรีสถาพร สมัยกุล
- Student: ณัฐพล สร้อยสมยา
- Student: พัชรินทร์ หนูกาย
- Student: สหัสวรรษ เจริญกุลผล
- Student: คนิจตา เชาวลิตต์
- Student: ณัฐพล เทพสตา
- Student: ขวัญยืน เพ็งพันธ์
- Student: ธนัทธินันท์ เหนี่ยงทอง
ศึกษาเกี่ยวกับสังคม การจัดระเบียบทางสังคม ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย หลักธรรมมาภิบาลใน องค์กร หลักธรรมเพื่อพัฒนางาน พัฒนาคนและสังคม สันติวัฒนธรรม ความเป็นพลเมืองดี ความร่วมมือกับประเทศ ต่างๆ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต

- Teacher: ครูศิโรรัตน์ ธรรมดา
- Student: Khwansirirat Keson
- Student: saranchana khongthong
- Student: noppakao pomin
- Student: จรัญญา มรรคเจริญ
- Student: ออมสิน เหลืองอ่อน
- Student: ฐิติวัฒน์ แสงแก้ว
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ความสำคัญของการจัดการฟาร์ม หลักและทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ที่ใช้ ในการการจัดการฟาร์ม (หลักว่าด้วยผลได้ลดน้อยถอยลง กฎว่าด้วยค่าเสียโอกาส หลักว่าด้วยการใช้ปปัจจัยการผลิตทดแทนกัน ระยะเวลาการตัดสินใจในการลงทุนที่เหมาะสม ) การจัดรูปแบบและการดําเนินงานฟาร์ม การวิเคราะห์และวางแผนการทําฟาร์ม การวางแผนและการจัดทํางบประมาณฟาร์ม การวิเคราะห์สถานภาพทางด้านการเงินและการคลัง การบันทึกข้อมูลฟาร์ม การวัดผลสําเร็จของฟาร์ม การจัดการฟาร์มปลูกพืช เลี้ยงสัตว์และสัตว์น้ำ การตัดสินใจและการดําเนินงานฟาร์มภายใต้ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน

- Student: แอดมิน-ห้องเรียน CCSCAT
- Student: Khwansirirat Keson
- Student: saranchana khongthong
- Student: ณัฐริกา กุมภีร์
- Student: จิตรานุช จรรยาธรรม
- Student: ณัฐพล เทพสตา